ค่าดรรชนีที่ใช้ในการตรวจจับพื้นที่ภัยแล้ง

อภิวัฒน์ ก้อนทอง, ปานวิทย์ ธุวะนุติ

Abstract


การวิเคราะห์และตรวจจับพื้นที่ภัยแล้งในปัจจุบันมีด้วยกันหลายวิธีการ เพื่อที่จะใช้ในการประกอบการตัดสินใจในการลดความเสี่ยงจากภัยแล้งในพื้นที่ต่าง ๆ จึงได้มีการศึกษาค่าดรรชนีความแห้งแล้งต่าง ๆ ที่ได้มีการศึกษาไว้ เพื่อที่จะนามาใช้เป็นเครื่องมือบอกสถานะของภัยแล้งทั้งทางตรงและทางอ้อมได้ โดยดรรชนีที่ได้ทาการศึกษา มีดังนี้ ดรรชนีความแห้งแล้งแสดงผลกระทบเนื่องจากฝน, ดรรชนีความแห้งแล้งทางด้านเกษตรกรรมตามฤดูกาลมรสุม, ดรรชนีความแห้งแล้งของฝนที่ต่างจากค่าปกติ, ดรรชนีความชื้นที่เป็นประโยชน์สาหรับพืช, ดรรชนีความแห้งแล้งที่ผิดปกติทางด้านเกษตรกรรม, ดรรชนีความแห้งแล้งจากความชื้นในดิน, ดรรชนีความแตกต่างพืชพรรณ, ดรรชนีความแห้งแล้งของ Keetch-Byram และกลุ่มของดรรชนีที่มีความเชื่อมโยง จากการศึกษานี้สามารถนาผลลัพธ์ที่ได้จากค่าดรรชนีต่าง ๆ ไปใช้ประโยชน์ต่อไป อาทิเช่น กรมอุตุนิยมวิทยาสามารถนาไปใช้เพื่อเป็นเครื่องมือบ่งบอกสถานะของภัยแล้งได้ว่าขณะนี้มีความเสี่ยงที่จะได้รับผลกระทบจากภัยแล้งหรือไม่ และเป็นภัยแล้งที่ก่อให้เกิดความเสียหายระดับใด ทาให้สามารถหาทางรับมือได้อย่างรวดเร็วมากยิ่งขึ้นต่อไป

Full Text:

PDF

References


วิรัช วรานุจิตต์และคณะ, “เอกสารวิจัยโครงการ ดรรชนีความแห้งแล้งสาหรับประเทศไทย,” เอกสาร วิชาการเลขที่ 551.577.38-01-2554, 2554.

Byun H.R. and Wilhite D.A., 1999. Objective quantification of drought severity and duration. In: Journal of Climate, 12, p. 2747-2756.

Jong-Hyeok Park, Ki-Beom Kim, and Heon- Young Chang, “Statistical Properties of Effective Drought Index (EDI) for Seoul, Busan, Daegu, Mokpo in South Korea,” ASIA-PACIFIC JOURNAL OF ATMOSPHERIC SCIENCES, pp. 453-458, Aug. 2014.

Steven Quiring, John W. Nielsen-Gammon, Raghavan Srinivasan, Travis Miller, and Balaji Narasimhan, “Drought Monitoring Index for Texas,” Texas A&M Research Foundation (RF- 468511), June. 2007.

Achutuni, V.R., L.T. Steyaert, and C.M. Sakamoto. 1982. Agroclimatic assessment methods fordrought/flood shortages in South and Southeast Asis-Test and evaluation: Final Report to the Agency for International Development U.S. of Foreing DisasterAssistance, washington, D.C.

Hasan Murad and A. K. M. Saiful Islam, “DROUGHT ASSESSMENT USING REMOTE SENSING AND GIS IN NORTH-WEST REGION OF BANGLADESH,” 3rd International Conference on Water & Flood Management (ICWFM- 2011), 2011.

เทวินทร์ โจมทา, “เอกสารวิชาการการศึกษา แบบจาลองดัชนีความแห้งแล้งทางอุตุนิยมวิทยาใน พื้นที่ประสบภัยแล้งบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศไทย,” เอกสารวิชาการเลขที่ 551.577.3- 01-2550, 2550.

ชลาลัย แจ่มผล. 2547. ความรุนแรงของความ แห้งแล้งในประเทศไทย. กลุ่มภูมิอากาศ. สานักพัฒนา อุตุนิยมวิทยา. กรมอุตุนิยมวิทยา.

อภันตรี ยุทธพันธ์, “เอกสารวิชาการดรรชนีความชื้น ที่เป็นประโยชน์สาหรับพืชในประเทศไทย,” เอกสาร วิชาการเลขที่ 551.586.02.2551, ก.พ. 2551.

Thornthwaite, C. W. (1948). An approach toward a rational classification of climate. Geographical Review, 38(1), 55–94.

Dagnenet Fenta Mekonnen, “Satellite remote sensing for soil moisture estimation: Gumara catchment, Ethiopia,” March. 2009.

Mongkolsawat C., Thirangoon P. and Suwanwerakamtorn R. 2001. An Evaluation of Drought Risk Area in Northeast Thailand using Remotely Sensed Data and GIS, Asian Journal of Geoinformatics, Vol. 1, No. 4.

Raghavan Srinivasan and Balaji Narasimhan, “Estimation of KBDI (Drought Index) in Real- Time Using GIS and Remote Sensing Technologies,” 2001 ASAE Annual International Meeting, no. 1-3054, July. 2001.

Keetch, J.J., and G.M. Byram. 1968. A Drought Index for Forest Fire Control, USDA Forest Service Research Paper No. SE 38, Asheville, NC.

Fensham, R.J. and Holman, J.E. 1999. Temporal and spatial patterns in droughtrelated tree dieback in Australian savanna. J. Appl. Ecol. 36, 1035-1050.

Palmer W. C.1965. Meteorological Drought. Research Paper No.45. Office of Climatology, U.S. Weather Bureau, Washington, D.C.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.