การศึกษาเกี่ยวกับการรู้จําชื่อเฉพาะ

ปฏิภาณ วิกาหะ, พรฤดี เนติโสภากุล

Abstract


การรู้จำชื่อเฉพาะ คือ กระบวนการในการระบุคำนาม ที่ทำหน้าที่ชี้เฉพาะถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อบุคคล ชื่อองค์กร ชื่อสถานที่ รวมไปถึงข้อความที่แสดงเกี่ยวกับวันเวลา เงิน และเปอร์เซ็นต์ ซึ่งเป็นงานที่สำคัญงานหนึ่งของการประมวลผลภาษาธรรมชาติ ที่มีการทำวิจัยมาอย่างต่อเนื่องในหมู่นักวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ นักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ และนักภาษาศาสตร์ บทความฉบับนี้ได้ทำการรวบรวมแนวทางการวิจัย ตัวอย่างของงานวิจัย และเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับการรู้จำชื่อเฉพาะที่ผ่านมาแล้ว นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างการนำการรู้จำชื่อเฉพาะไปประยุกต์ใช้ประโยชน์อีกด้วย

Full Text:

PDF

References


อัศนีย์ ก่อตระกูล. การประมวลผลภาษามนุษย์ด้วยคอมพิวเตอร์: เส้นทางสู่การพัฒนาระบบสารสนเทศอัจฉริยะ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร, 2549.

สุฤดี ฉัตรไตรมงคล. “การรู้จำและการจำแนกประเภทของชื่อเฉพาะภาษาไทย”. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548).

P. Sutheebanjard & W. Premchaiswadi. “Thai Personal Named Entity Extraction without using Word Segmentation or POS Tagging” Eighth International Symposium on Natural Language Processing 2009.

Su-xiang Zhang, Guo-Yang Gao, Yin-Cheng Qi, “Personal Name and Location Name Recognition based on Conditional Random Fields” Proceedings of the Eighth International Conference on Machine Learning and Cybernetics, Baoding, 12-15 July 2009.

ราชบัณฑิตยสถานและศูนย์เทคโนโลยีอีเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ. (14 มกราคม 2555). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. [Online]. Available: http://rirs3.royin.go.th/new-search/ word-search-all-x.asp

อุปกิตศิลปสาร, พระยา. หลักภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช, 2544.

หัชทัย ชาญเลขา. “การสกัดนิพจน์ระบุนามในภาษาไทย โดยใช้แบบจำลองทางสถิติร่วมกับฐานความรู้”. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547).

B. Sasidhar et al, “A Survey on Named Entity Recognition in Indian Languages with particular reference to Telugu,” IJCSI International Journal of Computer Science Issues, 8(2), 2011, pp. 438-443.

G.R. Krupka, and K. Hausman, “IsoQuest, Inc.: Description of the NetOwltm Extractor System as Used for MUC-7,” In Proc. of 7th Message Understanding Conference (MUC-7), Fairfax, Virginia, 1998.

นัชชา ถิระสาโรช. “การรู้จำชื่อเฉพาะ: แบบใช้แบบจำลองคอนดิชันนอลแรนดอมฟิลด์ส”. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553)

ณัฐดาพร เลิศชีวะ. “การรู้จำชื่อเฉพาะภาษาไทย: การศึกษาชื่อผลิตภัณฑ์ในข่าวเศรษฐกิจ”. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553)

(2 มีนาคม 2555). คอมพิวเตอร์ IBM Watson ชนะมนุษย์ในรายการเกมโชว์ Jeopardy! [online]. Available: http://www.blognone.com/news/ 21899/

John E. Kelly III et al, (2012, Mar 2). IBM Watson [Online]. Available: http://researcher.ibm.com/ view_pic.php?id=159


Refbacks

  • There are currently no refbacks.